เคยเป็นกันไหมค่ะ…เวลาจะซื้อขนมหรือของทานเล่นให้คุณพ่อ คุณแม่ หรือผู้สูงอายุที่บ้าน แต่ไม่รู้ว่าท่านจะรับประทานได้ไหม เนื่องด้วยอายุของท่านที่มากขึ้น เวลาที่จะรับประทานอะไรก็ต้องคำนึงถึงเรื่องสุขภาพตลอดว่าที่รับประทานเข้าไปนั้นจะดีต่อร่างกายหรือไม่ หรือส่งผลเสียอะไรบ้างไหม? วันนี้ Elife จะมาแนะนำ 10 ขนมกินเล่นที่ดีต่อสุขภาพ และเหมาะกับผู้สูงอายุมาดูกันเลย!! 1.ถั่วอัลมอนด์อบเกลือ เต็มไปด้วยไขมันดี ช่วยชะลอริ้วรอย บำรุงประสาท และเพิ่มพลังงานให้กับร่างกาย
Tag: ข่าวสารผู้สูงอายุ
7 เคล็ดลับดูแลสุขภาพง่าย ๆ อายุยืนเกิน 100 ปี
วันนี้อีไลฟ์แนะนำเคล็คลับอายุยืนมาฝากค่ะ ให้วัยเก๋าอย่างเราสดชื่นอยากมีอายุยืนเกิน 100 ปีกันค่ะ เคล็ดลับดูแลสุขภาพง่าย ๆ อายุยืนเกิน 100 ปี 1.รับประทานเนื้อปลาเป็นโปรตีนหลัก โดยเลือกปลาขนาดเล็กอย่าง ปลาดุก ปลานิล ปลาที่หาได้ตามแหล่งธรรมชาติ เป็นต้น 2.หลีกเลี่ยงการรับประทานไก่ และหน่อไม้ รับประทานเนื้อหมู และเนื้อวัวบ้างเป็นบางครั้ง 3.รับประทานผัก และผลไม้ให้มาก ๆ 4.ดื่มน้ำสะอาด น้ำต้มสุก 5.ทำกิจวัตรประจำวันด้วยตนเองอยู่เสมอ
สุขใจวัยเกษียณ
แม้จะเข้าวัยเกษียณแล้วแต่ร่างกายยังอยากทำงานอยู่ วันนี้อีไลฟ์มี 10อาชีพสำหรับวัยเกษียณที่จะได้ทำแก้เหงาและได้เงินดีมาแนะนำกันค่ะ สุขใจวัยเกษียณ คําว่า “เกษียณ” แปลวา สิ้นไป ซึ่งในทางราชการจะใชคําวา “เกษียณอายุ” หมายถึง ครบกําหนดอายุ รับราชการหรือสิ้นกําหนดเวลารับราชการ ก็คือ เมื่อผูนั้นมีอายุตัวครบ ๖๐ ปซึ่งปจจุบัน แมจะมีผูลาออกตามนโยบาย เออรี่รีไทร (Early Retired)ของรัฐบาลไปกอนอายุจะครบ ๖๐ ปก็ตาม แต่ข้าราชการสวนใหญ่ก็ยังอยู่จนครบอายุเกษียณ
ผู้สูงอายุกินอะไรถึงจะดี?
โภชนาการสำหรับผู้สูงอายุ ผู้สูงอายุควรทานอะไร ? แต่ละวัยต้องการสารอาหารที่แตกต่างกัน เพราะ การใช้พลังงาน การดูบซับ และการเคลื่อนไหวร่างกายที่แตกต่างกัน ผู้สูงอายุมีการเคลื่อนไหวร่างกายที่น้อยลง การเผาผลาญลดลง แต่ยังมีความต้องการสารอาหารครบทั้ง 5 หมู่เหมือนกับวัยอื่น ๆ ผู้สูงอายุกินอะไรได้บ้าง ? การจัดโภชนาการให้ผู้สูงอายุเป็นปัญหาที่พบบ่อย เพราะ ผู้สูงอายุมีปัญหาด้านสุขภาพไม่เหมือนกัน เช่น กล้ามเนื้ออ่อนแรงและลีบ ความดันโลหิต กระดูกบางพรุน โลหิตจาง ความจำเสื่อม
โรคกระดูกพรุน ภัยใกล้ตัวผู้สูงอายุ
ปัจจุบันโรคกระดูกพรุน กลายเป็นปัญหาระดับชาติที่นับวันจะเพิ่มมากขึ้นจากจำนวนประชากรผู้สูงอายุที่เพิ่มมากขึ้น เป็นภัยใกล้ตัวที่ผู้สูงอายุมองข้ามเนื่องจากผู้ป่วยจะไม่รู้ว่าตัวเองมีภาวะกระดูกพรุน เพราะไม่พบว่ามีอาการใดๆ จนกระทั่งล้มแล้วมี “กระดูกหัก” จึงรู้ว่าเป็น “โรคกระดูกพรุน” สาเหตุเกิดจากการสูญเสียมวลกระดูก ทำให้กระดูกเสียคุณสมบัติการรับน้ำหนัก กระดูกเปราะ หักง่าย บางคนอาจตัวเตี้ยลง (มากกว่า 3 ซม.) เนื่องจากกระดูกสันหลังโปร่งบางและยุบตัวลงช้าๆ หรือบางคนมีอาการปวดหลังจากการล้มหรือยกของหนัก โรคกระดูกพรุน คือ โรคกระดูกชนิดหนึ่งที่กระดูกเริ่มเสื่อมและบางลงเนื่องจากการสูญเสียแคลเซียมที่สะสมในกระดูก โรคนี้จะไม่ก่อให้เกิดความเจ็บปวดนอกจากกระดูกแตกหรือหัก พบได้บ่อยบริเวณกระดูกสันหลัง
แก่แล้วไม่แก่เลย
ไทยก้าวเข้าสู่สังคมสูงวัยอยู่ในระดับที่ 1 หรือ Aging Society ที่มีประชากรอายุมากกว่า 65 ปีขึ้นไป มากกว่า 7% มาตั้งแต่ปี 2545 ซึ่งเป็นระดับเดียวกับประเทศสิงคโปร์ และอีก 4 ปี คือ ปี 2565 คาดว่าจะก้าวเข้าสู่สังคมสูงวัยในระดับที่ 2 หรือเรียกว่า Aged Society ที่มีประชากรอายุมากกว่า