มารู้จักที่นอนลมกันแผลกดทับกันเถอะ ?? ที่นอนลม เป็นอุปกรณ์ ลักษณะพิเศษ ที่สามารถช่วยป้องกันแผลกดทับ
Tag: [เตียงปรับระดับไฟฟ้า]
เตียงไฟฟ้าสำหรับคนชรา ผู้ป่วย โครงสร้างเหล็ก ส่วนผิวสัมผัสทำจากไม้จริง ดูอบอุ่นเหมาะกับใช้ที่บ้าน ไม่เหมือนเตียงโรงพยาบาลทั่วๆไปที่ทำจาก ABS มีให้เลือกหลายรุ่น หลายฟังก์ชั่น พร้อมติดตั้ง พร้อมดูแลหลังการขาย
ทำไมต้องEB-55 เตียงไฟฟ้า 5ไกร์
การเลือกอุปกรณ์ทางด้านสุขภาพโดยเฉพาะอย่างยิ่งอุปกรณ์ที่เราหรือคนในครอบครัวใช้ในชีวิตประจำวันนั้น จะต้องพิถีพิถันในการเลือกใช้ เพื่ออำนวยความสะดวกสบายต่อผู้ใช้งาน และเตียงไฟฟ้าก็เป็นอีกหนึ่งอุปกรณ์ทางด้านสุขภาพ ที่ปัจจุบันผู้คนพูดถึงเป็นอย่างมาก เพราะนอกจากจะใช้กับผู้ป่วยที่นอนติดเตียงแล้ว สำหรับผู้มีปัญหาด้านสุขภาพหรือคนที่ต้องการ รักษาสุขภาพโดยการพักผ่อน แม้กระทั้งเด็กทารกแรกเกิดจนถึงเด็กช่วงกำลังเติบโต รวมถึงคุณแม่ตั้งครรภ์หรือพึ่งคลอดให้นมบุตร ก็สามารถเลือกใช้เตียงไฟฟ้าได้เช่นเดียวกัน เพราะมีข้อดีอย่างมากมาย อาทิเช่น สามารถปรับโครงสร้างของเตียงได้ตามสรีระร่างกายให้เหมาะสม ทำให้เป็นผลดีต่อการนอนหลับพักผ่อน ทำให้หลับลึกและยาวนานยิ่งขึ้น เมื่อได้รับการผักผ่อนที่ดีแล้ว สุขภาพร่างกายก็จะดีตามไปด้วย รวมถึงจิตใจก็จะผ่องใสมากขึ้น และหลากหลายคำถามที่ตั้งเป็นเหตุผลขึ้นมา เพื่อหาคำตอบให้สอดคล้องกับวัถตุประสงค์ต่างๆ บทความนี้จะเป็นบทความที่ให้คำตอบที่ดีที่สุด ในการเลือกใช้เตียงไฟฟ้าค่ะ
การฟื้นฟูดูแลผู้ป่วยติดเตียง
เครดิต Thai PBS รายการคนสู้โรค ตอนฟื้นฟูดูแลผู้ป่วยติดเตียง ออกอากาศวันที่ 1 มิถุนายน 2559 การฟื้นฟูผู้ป่วยติดบ้านและติดเตียง ปัจจุบันในสังคมไทยของเรานั้นมีผู้สูงอายุมากขึ้นและเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ และอีกหนึ่งโรคที่จะมีมาพร้อมกับผู้สูงอายุ คือ โรคผู้ป่วยติดเตียง วิธีการดูแลรักษาพร้อมกับคำแนะนำสำหรับโรคผู้ป่วยติดเตียง โดย นายแพทย์ พิษณุ สุนทรปิยะพันธ์ แพทย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู ลักษณะของผู้ป่วย
แผลกดทับ และ การเลือกเบาะรองนั่งสำหรับรถเข็น รถเข็นไฟฟ้า
นั่งรถเข็น,รถเข็นไฟฟ้า (Power Wheelchair) อย่างไร ไม่ให้เกิดแผลกดทับ – ไม่นั่งติดต่อกันนานเป็นชั่วโมง โดยไม่ขยับตัว – ยกตัวให้ก้นลอยขึ้นจากที่นั่งชั่วคราว ครั้งละ 30 วินาที ทุกๆ ครึ่งชั่วโมง – พยายามนั่งให้หลังตรง พิงพนัก และเข่าอยู่ระดับเดียวกับตะโพก ไม่นั่งไขว่ห้าง – เวลาย้ายตัวจากรถุเข็น ควรยกให้ตัวลอยขึ้น ไม่ให้ถูไถกับที่รองนั่งหรือเตียง
3 โรคพบบ่อยในผู้สูงอายุและการป้องกัน
คัดย่อจากบทความ ‘ผู้สูงอายุ อยู่อย่างไรไกลโรค‘ เขียนโดย นพ.สมบูรณ์ อินทลาภาพร โรคหลายโรคในผู้สูงอายุสามารถป้องกันหรือลดความรุนแรงลงได้หากรู้จักวิธีดูแลอย่างถูกต้อง ตัวอย่างโรคที่พบบ่อยมีดังนี้ 1. โรคข้อเสื่อม อาการ มีการเปลี่ยนแปลงที่กระดูกอ่อนผิวข้อ โดยถูกทำลายแบบค่อยเป็นค่อยไป จะมีอาการปวดที่ตำแหน่งข้อ มักเป็นหลังจากใช้ข้อมากกว่าปกติ มักบวมที่ข้อไม่มาก ข้ออุ่นกว่าปกติเล็กน้อย เมื่อพักข้ออาการปวดจะลดลงหรือหายไป เมื่อใช้งานก็กลับมาปวดใหม่ อาการจะเป็นๆ หายๆ ขึ้นกับการใช้งานข้อ ข้อฝืด เป็นหลังจากพักข้อ หรือหยุดการเคลื่อนไหวข้อเป็นเวลานาน